วันพฤหัสบดีที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

บทที่ 2

ISO 

iso คือ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน International Standards Organization ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ๒๔๙๐ ๑๙๔๗ โดยมีสำนักงานใหญ่ ISO ตั้งอยู่ที่ นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์                   วัตถุประสงค์ขององค์การ ISO ก็เพื่อส่งเสริมการกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ และกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมเศรษฐกิจ และขจัดข้อโต้แย้ง รวมถึงการกีดกัน ทางการค้าระหว่างประเทศ ตลอดจนการพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ ในด้านวิชาการวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี                   กล่าวง่าย ๆ ได้ว่า บริษัท หรือองค์กรใดได้รับ ISO ก็หมายความว่า สินค้าหรือบริการขององค์กรนั้น เข้าขั้นมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับสากล                   เลข ISO ที่เราเห็นกันคุ้นตาก็มี ISO 9002 ISO 14000 เป็นต้น หลายคนอาจสงสัยว่าแตกต่างกันอย่างไร ตัวเลขดังกล่าวถูกกำหนดขึ้นเพื่อการแบ่งแนวทางและวิธีการในการบริหารองค์กร ดังนี้       ISO 9000 คือการจัดระบบการบริหารเพื่อประกันคุณภาพ ที่สามารถตรวจสอบได้ โดยผ่านระบบเอกสาร       ISO 9001 เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลทั้งการออกแบบ และพัฒนาการผลิต การติดตั้ง และการบริการ       ISO 9002 มาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลเฉพาะการผลิต การติดตั้ง และการบริการ       ISO 9003 เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลเรื่องการตรวจ และการทดสอบขั้นสุดท้าย       ISO 9004 เป็นแนวทางในการบริหารงานคุณภาพ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยเป็นข้อแนะนำ ในการจัดการในระบบคุณภาพ ซึ่งจะมีการกำหนดย่อย ในแต่ละประเภทธุรกิจ       ISO 14000 เป็นระบบมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้องค์กรมีการพัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง       ISO 18000 มาตรฐานระบบการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย                 ในประเทศไทย องค์กรที่ต้องการ ISO จะต้องยื่นขอการรับรองมาตรฐาน จากสถาบันรับรองมาตรฐาน ISO โทร ๒๐๒-๓๒๗๑-๒ ซึ่งองค์กรนั้น ๆ จะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนด ในมาตรฐานที่ระบุไว้และต้องผ่านการ

 แบบจำลอง OSI

 มีการแบ่งการทำงานออกเป็นลำดับชั้น ที่เรียกว่าชั้นสื่อสาร โดยมีทั้งสิ้น 7 ชั้นด้วยกันคือ

1. ชั้นสื่อสารทางกายภาพ
2. ชั้นสื่อสารเชื่อมต่อข้อมูล
3. ชั้นสื่อสารควบคุมเครือข่าย
4. ชั้นสื่อสารเพื่อนำส่งข้อมูล
5. ชั้นสื่อสารควบคุมหน้าต่างสื่อสาร
6. ชั้นสื่อสารสื่อสารนำเสนอข้ำมูล
7. ชั้นสื่อสารประยุกต์ 

TCP/IP

    TCP/IP Model มีแนวคิดพื้นฐานแตกต่างจาก OSI Model คือไม่ได้มีพื้นฐานของการสื่อสารแบบการสนทนา TCP/IP Model เป็นภาพแสดงถึงโลกของระบบเครื่อข่ายสากล (Internetworking) ที่ทำการเคลื่อนย้ายและกำหนดเส้นทางให้กับข้อมูลระหว่างเครือข่ายและระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ เมื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างทั้ง 2 โมเดล จะพบว่ามีบางเลเยอร์ที่มีการกำหนดคุณสมบัติที่เทียบได้ไกล้เคียงกัน แต่บางเลเยอร์ก็ไม่สามารถเทียบหาความสัมพันธ์กันได้เลย





























ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น